ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับโปรแกรมภาพเคลื่อนไหว
ประวัติความเป็นมาของ Adobe Flash CS3
Adobe Flash ชื่อเดิมคือ Shockwave Flash และ Macromedia Flash เป็นโปรแกรมที่ใช้ในการเขียนสื่อมัลติมีเดียที่เอาไว้ใช้สร้างเนื้อหาเกี่ยวกับ Flash ซึ่งตัว Flash Player พัฒนาและเผยแพร่โดย อะโดบีซิสเต็มส์ เริ่มต้นพัฒนาโดยบริษัท ฟิวเจอร์แวร์ ตอนหลังเปลี่ยนเป็น แมโครมีเดีย ซึ่งภายหลังถูกควบรวมกิจการเข้ากับ อะโดบี ซึ่งเป็นโปรแกรมที่ทำให้ เว็บเบราว์เซอร์ สามารถแสดงตัวมันได้ ซึ่งมันมีความสามารถในการรองรับ ภาพแบบเวกเตอร์ และ ภาพแบบแรสเตอร์ และมีภาษาสคริปต์ที่เอาไว้ใช้เขียนโดยเฉพาะเรียกว่า ActionScript และยังสามารถเล่นเสียงและวีดิโอ แบบสเตริโอได้
Adobe Flash ชื่อเดิมคือ Shockwave Flash และ Macromedia Flash เป็นโปรแกรมที่ใช้ในการเขียนสื่อมัลติมีเดียที่เอาไว้ใช้สร้างเนื้อหาเกี่ยวกับ Flash ซึ่งตัว Flash Player พัฒนาและเผยแพร่โดย อะโดบีซิสเต็มส์ เริ่มต้นพัฒนาโดยบริษัท ฟิวเจอร์แวร์ ตอนหลังเปลี่ยนเป็น แมโครมีเดีย ซึ่งภายหลังถูกควบรวมกิจการเข้ากับ อะโดบี ซึ่งเป็นโปรแกรมที่ทำให้ เว็บเบราว์เซอร์ สามารถแสดงตัวมันได้ ซึ่งมันมีความสามารถในการรองรับ ภาพแบบเวกเตอร์ และ ภาพแบบแรสเตอร์ และมีภาษาสคริปต์ที่เอาไว้ใช้เขียนโดยเฉพาะเรียกว่า ActionScript และยังสามารถเล่นเสียงและวีดิโอ แบบสเตริโอได้
Flash เริ่มมีชื่อเสียงประมาณปี ค.ศ. 1996 หลังจากนั้น เทคโนโลยี Flash ได้กลายมาเป็นที่นิยมในการเสนอแอนิเมชัน และอินเตอร์แอกทีฟในเว็บเพจ และในโปรแกรมหลายๆ โปรแกรมระบบ และ เครื่องมือต่างๆ ที่มีความสามารถในการแสดง Flash ได้ และ Flash ยังเป็นที่นิยมในการใช้สร้าง เกมคอมพิวเตอร์ แอนิเมชันโฆษณา ออกแบบส่วนต่างๆ ของเว็บเพจใส่วิดีโอบนเว็บ และอื่นๆ อีกมากมาย
1. 1.แถบชื่อหัวเรื่อง (Title Bar) แสดงปุ่มควบคุมหลัก (Control
Menu)
ชื่อโปรแกรม และปุ่มควบคุมหน้าต่างโปรแกรม
ชื่อโปรแกรม และปุ่มควบคุมหน้าต่างโปรแกรม
2. 2.เมนูบาร์ (Menu Bar) แสดงรายการคำสั่งต่างๆ
ของโปรแกรม
3.
3.ไทม์ไลน์ (Timeline) หน้าต่างแสดงเส้นควบคุมเวลาสำหรับการนำเสนอผลงาน
ประกอบด้วยส่วนทำงานเกี่ยวกับ Layer และ Timeline
4. 4.ทูลบ็อกซ์ (Toolbox) แสดงปุ่มเครื่องมือเกี่ยวกับการวาดภาพ
สร้างภาพ ซึ่งสามารถ ซ่อน / แสดง ได้ด้วยการคลิกเมนู Windows > Tools
5. 5.แถบแก้ไข (Edit Bar) ใช้แสดงชื่อซีน
จัดการกับหน้าจอโปรแกรม ปรับขนาดมุมมองของสเตจ ซึ่งสามารถซ่อน/แสดง
ได้ด้วยการคลิกเมนู Windows > Toolbars > Edit Bar
ประกอบด้วยส่วนทำงานเกี่ยวกับ Layer และ Timeline
ประกอบด้วยส่วนทำงานเกี่ยวกับ Layer และ Timeline
6.
6.สเตจ (Stage) พื้นที่ส่วนที่ใช้ในการวางวัตถุต่างๆ
หรืออาจจะเรียกว่า "เวที"
เมื่อมีการนำเสนอผลงานจะ แสดงเฉพาะวัตถุบน Stage เท่านั้น
7. 7.แถบคุณสมบัติ (Properties) ใช้กำหนดค่าคุณสมบัติของ
สเตจและออบเจ็กต์ต่างๆ
โดยรายละเอียดที่ปรากฏขึ้นมาจะเปลี่ยนแปลงไปตามเครื่องมือหรือออบเจ็กต์ที่กำลังคลิกเลือก
สามารถซ่อน/แสดง ได้ด้วยการคลิกเมนู Windows
> Properties > Properties หรือกดปุ่ม Ctrl
+ F3
8. 8.พาเนล (Panel) หน้าต่างหรือชุดคำสั่งพิเศษที่ใช้ทำงานเฉพาะด้าน
เช่นพาเนล Color ใช้เลือกและผสมสี พาเนล Library ใช้จัดเก็บออบเจ็กต์ต่างๆ
เป็นต้น ซึ่งสามารถเปิดเรียกได้ด้วยการคลิกที่เมนู Windows
ความคิดเห็น
แสดงความคิดเห็น